“ปลาหมอคางดำ” ความท้าทายของรัฐในการจัดการเอเลี่ยนสปีชีส์

ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามมีการซื้อขายปลาหมอคางดำเฉพาะในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำเท่านั้น แต่ในคลองธรรมชาติไม่มีการจับขาย ส่วนในพื้นที่สมุทรสาครเรือประมงอวนรุนสามารถจับในชายฝั่งได้มาก แต่เมื่อน้ำขึ้นปลาหมอคางดำก็ขึ้นมาในคลองธรรมชาติ ซึ่งหากทำตามข้อเสนอเมื่อ 7 ปีที่แล้ว ใช้เงินเพียง 100 ล้านบาทเท่านั้น ซึ่งตอนนี้อาจต้องใช้เงินมากกว่า 1,000 ล้านบาทถึงจะแก้ไขปัญหาได้ ซึ่งรัฐจะต้องเปิดเผยข้อเท็จจริง ไม่ใช่เพียงการปักป้ายถ่ายภาพแล้วบอกกับสังคมว่า “ปลาหมอคางดำหมดไปจากพื้นที่แล้ว” ปลาหมอคางดํา หรือ Blackchin tilapia จัดอยู่ในวงศ์ Cichlidae เช่นเดียวกับปลาหมอเทศ และปลาหมอสี ปลาชนิดนี้มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา…

Continue Reading....

ขยะพลาสติกทะเล เมื่อมนุษย์ทำร้ายธรรมชาติ มนุษย์ต้องกู้ธรรมชาติให้ได้

ร้อยละ 80 เกิดจากการรั่วไหลของขยะบนบก ขยะที่ลงแม่น้ำเจ้าพระยามาลงอ่าวไทย มาตรฐานจัดการขยะไทยมีแหล่งกำจัดมาตรฐานไม่ถึงร้อยละ 50 การรั่วไหลจึงมาก โดยเฉพาะโฟม พลาสติก ซึ่งไม่ย่อยสลาย แต่แตกสลายเป็นชิ้นเล็กปนเปื้อนนิเวศทะเล นั่นคือคำบอกเล่าของภาคภูมิ วิธานติรวัฒน์ หรือพี่นก ผู้อำนวยการมูลนิธิอันดามัน จังหวัดตรัง ที่ทำงานบุกเบิกเรื่องการจัดการขยะทะเลมาตั้งแต่ปี 2561

Continue Reading....

คู่มือเพื่อการเข้าใจกฎหมายทะเลและชายฝั่ง ข้อเสนอเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอย่างยั่งยืน

Continue Reading....