เสียงNGOsไทยในการประชุม COP29: หลักการสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมักถูกตีกรอบว่าเป็นผลมาจากการพัฒนาอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยืนยันว่าเป็นรูปแบบหนึ่งของการล่าอาณานิคมแบบใหม่ที่มีความซับซ้อน วิกฤตนี้มีรากฐานมาจากระบบประวัติศาสตร์โลก ประเทศทางเหนือคือยุโรปได้ตักตวงล้างผลาญทรัพยากรธรรมชาติจากประเทศทางใต้เอเชียเพื่อสร้างความมั่งคั่งให้กับประเทศในทวีปยุโรป ปัจจุบัน ชุมชนในในประเทศซีกโลกใต้ เอเชียกำลังเผชิญกับผลกระทบด้านสภาพภูมิอากาศอย่างหนัก น้ำท้วมฝนแล้งร้อน และอีกหลายรูปแบบ ประเทศในซีกโลกเหนือ ยุโรปยังคงขาดการปฏิบัติตามพันธกรณีและพันธกรณีของตน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่ของการบรรเทาผลกระทบและสภาพภูมิอากาศ การเงิน ภายใต้หลักการความรับผิดชอบร่วมกันแต่มีความแตกต่างและความสามารถตามลำดับ มีการเสนอแนวทางแก้ไขหลายประการ แต่เราต้องถามว่า “นี่เป็นวิธีแก้ปัญหาที่ต้องการจริงหรือ? หรือเป็นการแก้ปัญหาที่ผิด?” การแก้ปัญหาที่ผิดพลาดมักมีไว้เพื่อหลีกหนีความรับผิดชอบและผู้แสวงหาผลประโยชน์ ส่งผลให้ทรัพยากรและเจตจำนงทางการเมืองหันเหไปจากการกระทำที่แท้จริง การแก้ปัญหาที่ให้ความสำคัญกับผลกำไรระยะสั้นและผลประโยชน์ขององค์กร ของประเทศพัฒนา ในขณะเดียวกันก็สร้างผลกระทบด้านลบที่ทำให้ผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศรุนแรงมากขึ้นหรือก่อให้เกิดความเสี่ยงใหม่ ๆ…

Continue Reading....

“ปลาหมอคางดำ” ความท้าทายของรัฐในการจัดการเอเลี่ยนสปีชีส์

ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามมีการซื้อขายปลาหมอคางดำเฉพาะในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำเท่านั้น แต่ในคลองธรรมชาติไม่มีการจับขาย ส่วนในพื้นที่สมุทรสาครเรือประมงอวนรุนสามารถจับในชายฝั่งได้มาก แต่เมื่อน้ำขึ้นปลาหมอคางดำก็ขึ้นมาในคลองธรรมชาติ ซึ่งหากทำตามข้อเสนอเมื่อ 7 ปีที่แล้ว ใช้เงินเพียง 100 ล้านบาทเท่านั้น ซึ่งตอนนี้อาจต้องใช้เงินมากกว่า 1,000 ล้านบาทถึงจะแก้ไขปัญหาได้ ซึ่งรัฐจะต้องเปิดเผยข้อเท็จจริง ไม่ใช่เพียงการปักป้ายถ่ายภาพแล้วบอกกับสังคมว่า “ปลาหมอคางดำหมดไปจากพื้นที่แล้ว” ปลาหมอคางดํา หรือ Blackchin tilapia จัดอยู่ในวงศ์ Cichlidae เช่นเดียวกับปลาหมอเทศ และปลาหมอสี ปลาชนิดนี้มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา…

Continue Reading....

สคส. จี้ COP29 ล้มคาร์บอนเครดิทในไทย! เหตุเอื้อกลุ่มทุนปล่อยคาร์บอนกดทับสิทธิสิทธิมนุษยชน

สมัชชาองค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หรือ สคส. แสดงจดหมายเปิดผนึก เรื่อง เวที COP29, ร่างพรบ.การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการคัดค้านตลาดคาร์บอน คาร์บอนเครดิต ต่อผู้จัดเวที Conference of Parties to the United Nations Framework Convention on Climate Change (COP) ครั้งที่…

Continue Reading....

ปรากฏการณ์ฝรั่งเตะหมอ

พิเชษฐ์ ปานดำ ปรากฏการณ์ฝรั่งเตะหมอ ณ ชายหาดหน้าวิลล่าหรูบ้านยามู ภูเก็ตตั้งแต่ปลายเดือนที่ผ่านมา ที่นำมาสู่ความไม่พออกพอใจของคนท้องถิ่น ส่งผลมาจนมาถึงนัดกันรวมตัวกันในวันนี้ ที่มีคนไหลเวียนตลอดทั้งวันจำนวนหลายพันคน ณ จุดเกิดเหตุ ที่กลายเป็นจุด check in ใหม่ของภูเก็ต เพื่อแสดงตัวและแสดงเจตจำนงร่วมกัน เพื่อทำความเข้าใจปรากฏการณ์นี้ จึงอยากแลกเปลี่ยนและชวนสนทนาในมุมมองของคนท้องถิ่น (Indigenous people) โดยมองย้อนกลับไปถึงต้นทางและพัฒนาการของการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ตและปริมณฑล ว่าสัมพันธ์และเชื่อมโยงกันอย่างไร การเริ่มต้นการท่องเที่ยวในภูเก็ต เกิดขึ้นราวปี พ.ศ.…

Continue Reading....

ขอเชิญเข้าร่วม การประชุมรับฟังความคิดเห็นสาธารณะต่อร่างพระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ……

ขอเชิญเข้าร่วม การประชุมรับฟังความคิดเห็นสาธารณะต่อร่างพระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ……ผ่านระบบออนไลน์ 6 ภูมิภาคทั่วประเทศ ดังนี้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2567ภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี วันที่ 1 มีนาคม 2567ภาคตะวันตก จังหวัดราชบุรี วันที่ 8 มีนาคม 2567ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช วันที่ 13 มีนาคม…

Continue Reading....

คู่มือเพื่อการเข้าใจกฎหมายอุทยานแห่งชาติ และข้อเสนอเพื่อคนอยู่ร่วมกับป่าอย่างยั่งยืน

Continue Reading....

คู่มือเพื่อการเข้าใจกฎหมายทะเลและชายฝั่ง ข้อเสนอเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอย่างยั่งยืน

Continue Reading....

บันทึกการประชุม: สรุปบทเรียนเครือข่ายองค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ สมัชชาองค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (สคส.) คณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน (กป.อพช.) และองค์กรภาคี ได้ร่วมกันจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง สถานการณ์ภูมิภาคและนโยบาย กฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม ใน ๕ ภูมิภาค

Continue Reading....

สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ 5 ภูมิภาค เรื่อง “สถานการณ์สิ่งแวดล้อม นโยบายและกฎหมาย”

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ สมัชชาองค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (สคส.) คณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน (กป.อพช.) และองค์กรภาคี ได้ร่วมกันจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง สถานการณ์ภูมิภาคและนโยบาย กฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม ใน ๕ ภูมิภาค

Continue Reading....